top of page
ค้นหา
  • รูปภาพนักเขียนPORNCHITA MAROM

การควบคุม "โรคแอนแทรคโนส" ในสวนมะม่วง

โรคแอนแทรคโนส มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides และจัดเป็นโรคที่สำคัญที่สุดของมะม่วง ที่ปลูกในสภาพอาการศร้อนชื้นอย่างประเทศไทย เชื้อราก่อโรคแอนแทรคโนสสามารถสร้างส่วนขยายพันธุ์ขึ้นมาใหม่ และเข้าทำลายพืชได้ทุกระยะการเจริญของมะม่วงตลอดฤดู การปลูก จึงทำให้การควบคุมโรคเป็นไปอย่างยากลำบาก


อาการของโรค

เกิดได้กับส่วนต่างๆของพืช ได้แก่ อาการใบจุด ในแบะกิ่งแห้งตาย อาการทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้จะเป็นแหล่งสะสมเชื้อที่จะแพร่ระบาดเข้าทำลายผลมะม่วงที่กำลังพัฒนา โดยเชื่อจะอยู่ในรัยะพักตัว จนกระทั่งมะม่วงแก่ลถึงระยะเก็บเกี่ยวต่อมาเมื่อผลสุก เชื้อจะเริ่มพัฒนาใหม่และทำลายผลมะม่วงก่อให้เกิดอาการเน่าเสีย ซึ่งจัดว่าป็นโรคที่สำคัญในระยะการเก็บเกี่ยวของมะม่วง


การจัดการระบบการควบคุมโรคแอนแทรคโนสในสวนมะม่วง ประกอบด้วย

1. การจัดการภายในสวน

ต้องมีการตัดแต่งกิ่งและทรงพุ่มให้โปร่ง เพราะต้นมะม่วงที่แตกหนาเป็นที่สะสมของโรคและแมลง ช่วยให้ต้นมะม่วงจัดระบบการใช้แร่ธาตุอาหารได้ดี

2. การใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัดโรคพืช

การใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพ ในการควบคุมโรค เพื่อยับยั้งเชื้อราและไวรัส คือ ฟาร์มเมอร์มีฝาแดง จะช่วยยับยั้งเชื้อรา ในพืชทุกชนิด หยุดการขยายตัวของไวรัส แบคทีเรีย รากเน่า ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ใบแห้ง ใบด่าง ใบไหม้ เชื้อรา ในลำต้นกิ่งก้านใบ แก้อาการโรคพืชต่างๆ และยังช่วยลดการหลุดล่วงของดอก และผลอ่อนอีกด้วย

สำหรับสวนที่มีประวัติการแพร่ระบาดของโรคแอนแทรคโนสอย่างต่อเนื่อง มีความจำเป็นต้องใช้สารเคมีเพื่อป้องกันกำจัดเชื้อรา ควรเลือกสารเคมีที่เราได้บอกไว้ดังกล่าวเพื่อให้ผลผลิตของเกษตรกรทุกท่านได้เก็บเกี่ยวที่ดี

ดู 4 ครั้ง0 ความคิดเห็น
bottom of page